วันศุกร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ภาษาถิ่น


ภาษาถิ่นอีสาน
แปลเป็นภาษากลาง
ภาษาถิ่นอีสาน
แปลเป็นภาษากลาง
.
-
-
-
กะซาง
ช่างเถอะ
กะด้อ กะเดี้ย
อะไรกันนักหนา
กินเข่าสวย
รับประทานอาหารกลางวัน
เกิบ
รองเท้าแตะ
กินดอง
เลี้ยงฉลองสมรส
กะเลิงเบิ๊บ
ยายเฉิ่ม,คนสติไม่ดี
กะจังว่า
ก็นั่นน่ะสิ
กองอ้วกย้วก
ลักษณะคนล้มทรุดตัวลงกองกับพื้น
เกี้ยงตั๊บ
หมดเกลี้ยง
กินข่าวสวย
รับประทานอาหารกลางวัน
.
-
-
-
ขี้ตั๋ว
โกหก,พูดไม่จริง
ขี้ตะแร้
รักแร้
ขี้หินแฮ
หินลูกรัง
ข่อยกับเจ้า
ฉันกับเธอ
ขี้โก๊ะ
จิ้งเหลน, จิ๊กโก๋
ขี้เกี้ยม
จิ้งจก
ขนคิงลุก
ขนลุก
ข่อยกั๊บเจ้า
ฉันกับเธอ
ขะหยอน
มิน่าล่ะ
ขี้เมี่ยง
สนิม
.
-
-


เคียด
โกรธ,งอน
คนมะลำมะลอย
คนเหยียบขี้ไก่ไม่ฝ่อ
คักอีหลี
สะใจจริงๆ
คนบ่เคียม
คนซุ่มซ่าม
คอง(ภาษาอีสานตอนบน)
รอคอย
เคียม
สุภาพเรียบร้อย
เคียด
โกรธ
คึดฮอด
คิดถึง
เคิกกัน
คลาดกัน (อีสานตอนบน)
คำคิง
สัมผัส,แตะตามเนื้อดูว่าตัวร้อนหรือไม่
คนมะลำมะลอย
คนไม่น่าเชื่อถือ เอาแน่อะไรไม่ได้
คือเก่า
เหมือนเดิม
คะมะ
หยุดชะงักด้วยเหตุบังเอิญ


.
-
-
-
งานดอง
งานแต่งงาน
งานเฮือนดี
งานศพ
ไงกุ้ม
ฝุ่นตลบ
งอนตอ
ท้ายทอย (อีสานบน)
งามโพดงามเหลือ งามแท้งามว่า
สวยจริงสวยจัง สุดจะพรรณา
ง้วกเบิ่ง
เหลียวมอง
จ.
-
-
-
เจ้า, ข่อย
คุณ, ฉัน
จี่
ปิ้ง,ย่าง
จักแหล่ว
ไม่รู้สิ
จอบเบิ่ง
แอบดู
จอก
แก้ว
จั๊กกะเดียม
จั๊กกะจี้
จาฮีต
เป็นคำยืนยันถึงความจริง,แน่นอน
ใจฮ้าย
โกรธ,โมโห
จังได๋
แบบไหน,ยังไง
จาวขาย
ประกาศขาย
แจบใจ
มั่นใจ,สนิทใจ
ใจออก
ถอดใจ,ท้อถอย
จือ
จำ,เข็ด
โจงโปง
โล่ง,ว่างเปล่า
จาวขาย
ประกาศขาย
จอกน้ำ
แก้วน้ำ
.
-
-


ซอกหา
ค้นหา,ตามหา
โซนแซว
เอะอะ,เสียงดัง
ซ่า
ช้า
ซั่นแหล่ว
ก็ว่างั้นแหล่ะ
ซะซาย
กระจัดกระจาย
ซุมเข่าแลง
สังค์สรรค์มื้อเย็น
ซัง
เกลียด
ซุ
ก้นทะลุ
เซือ
เชื่อ


ซอมใจ
ตรอมใจ
เซาจุ๊ดปุ๊ด
หยุดทันที,หายทันควัน
ซอยแน
ช่วยด้วย
แซวซะ
เสียงดัง,อึกกะทึก คึกโครม
ซุมแซว
รื่นเริง,สังสรรค์
.
.
.
-
-
-
ดังไฟ
ก่อไฟ
โดน
นาน
.
-
-
-
ตะพึดตะพือ
ไม่บันยะบันยัง
ตั้มอิด
แรกเริ่ม.เริ่มต้น,ครั้งแรก,ทีแรก
ตาฮัก ตาแพง
น่ารัก น่าเอ็นดู
แตกวึ่นๆ
แตกตื่น
ตังนัง
เก้าอี้,ม้านั่ง
ตะเว็น
ดวงอาทิตย์
ตื่น
ตกใจ!
ต้อดเข่ามา
ขยับ,กระแซะๆๆๆ เข้ามาซิ
ประวัติความเป็นมาของการจัดงานวันครู ในปีพ.ศ.2499 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมานตรีในสมัยนั้น ซึ่งดำรงตำแหน่งประธานกรรมการอำนวยการคุรุสภากิตติมศักดิ์ ได้กล่าวปราศัยต่อที่ประชุมทั่วประเทศ ถึงความคิดที่จะกำหนดให้มีวันครู และเป็นการสอดคล้องกับความคิดเห็นของครูโดยทั่วไป
โดยได้กล่าวคำปราศรัยต่อที่ประชุมครูทั่วประเทศว่า
"ที่อยากเสนอในตอนนี้ก็คือว่า เนื่องจากผู้เป็นครูมีบุญคุณ เป็นผู้ให้แสงสว่างในชีวิตของเราทั้งหลาย ข้าพเจ้าคิดว่าวันครูควรมี สักวันหนึ่งสำหรับให้บรรดาลูกศิษย์ทั้งหลายได้แสดงความเคารพ สักการะต่อบรรดาครูผู้มีพระคุณทั้งหลาย เพราะเหตุว่าสำหรับ คนทั่วไปถ้าถึงวันตรุษ วันสงกรานต์ เราก็นำเอาอัฐิของผู้มีพระคุณบังเกิดเกล้ามาทำบุญ ทำทาน คนที่สองรองลงไปก็คือครูผู้เสียสละ ทั้งหลาย ข้าพเจ้าคิดว่าในโอกาสนี้จะขอฝากที่ประชุมไว้ด้วย ลองปรึกษาหารือกันในหลักการ ทุกคนคงจะไม่ขัดข้อง"
ดังนั้นในวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2599 คณะรัฐมนตรีได้มีมติกำหนดให้ วันที่ 16 มกราคม ของทุกปี ซึ่งตรงกับวันที่ประกาศพระราชบัญญัติ ครูในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2488 เป็น "วันครู"
วันครูได้ให้มีขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ.2500 สืบเนื่องมาจากการประกาศพระราชบัญญัติครูในราชกิจจานุเบกษาในปีพ.ศ.2488 ซึ่งระบุให้มีสภาในกระทรวงศึกษาธิการ เรียกว่า คุรุสภา เป็นนิติบุคคล ให้ครูทุกคนเป็นสมาชิกคุรุสภา โดยมีหน้าที่ในเรื่องของสถาบันวิชาชีพครู ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่ให้ความเห็นเรื่องนโยบายการศึกษาและวิชาการศึกษาทั่วไปแก่กระทรวงศึกษาธิการ ควบคุมจรรยาและวินัยของครู รักษาผลประโยชน์ส่งเสริมฐานะของครู จัดสวัสดิการให้ครูและครอบครัวได้รับความช่วยเหลือตามสมควร ส่งเสริมความรู้และความสามัคคีของครู
คำปฏิญาณวันครู ข้อ 1. ข้าจะบำเพ็ญตนให้สมกับที่ได้ชื่อว่าเป็นครู ข้อ 2. ข้าจะตั้งใจฝึกสอนศืษย์ให้เป็นพลเมืองดีของชาติ ข้อ 3. ข้าจะรักษาชื่อเสียงของคณะครูและบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
ความมุ่งหมายในการจัดงานวันครู 1. เพื่อประกอบพิธีระลึกถึงคุณบูรพาจารย์ 2. เพื่อส่งเสริมความสามัคคีธรรมระหว่างครู 3. เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างครูกับประชาชน
การจัดงานวันครูได้ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจกรรม ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมตลอดเวลา ในปัจจุบันได้จัดรูปแบบการจัดงานวันครู จะมีกิจกรรม 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
กิจกรรมทางศาสนา
พิธีรำลึกถึงพระคุณบูรพาจารย์ ประกอบด้วพิธีปฏิญาณตน การกล่าวคำรำลึกถึงพระคุณบูรพาจารย์
กิจกรรมเพื่อความสามัคคีระหว่างผู้ประกอบอาชีพครู ส่วนมากเป็นการแข่งขันกีฬา หรือการจัดงานรื่นเริงในตอนเย็น
ที่มา http://www.tlcthai.com/webboard/view_